วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2563

เฉลยข้อสอบบทที่ 3

1.4

2.3

3.3

4.1

5.4

6.4

7.2

8.4

9.2

10.3

11.1

12.4

13.2

14.4

15.3

16.2

17.3

ที่มา : คลิกที่นี่

ข้อสอบบทที่ 3

 บทที่ 3

1.

สัญลักษณ์ของธาตุ Calcium

1.

C

2.

N

3.

B

4.

Ca


2.

ข้อใดแทนสัญลักษณ์ของโลหะแมกนีเซียม

1.

Mn

2.

Mo

3.

Mg

4.

Ma


3.

เลขมวล คือ

1.

ตัวเลขที่แสดงจำนวนอิเล็กตรอน

2.

ตัวเลขที่แสดงจำนวนโปรตอน

3.

ตัวเลขที่แสดงผลรวมจำนวนโปรตอนและนิวตรอน

4.

ตัวเลขที่แสดงจำนวนนิวตรอน


4.

ข้อใดไม่ถูกต้อง

1.

เลขอะตอมใช้สัญลักษณ์ คือ A

2.

เลขอะตอมแทนจำนวนโปรตอนในอะตอม

3.

เลขอะตอมใช้บอกว่าธาตุนั้นอยู่หมู่ใด

4.

เลขอะตอมใช้บอกว่าธาตุนั้นอยู่คาบใด


5.

ข้อใดเป็นโครงสร้างอะตอมของธาตุฮีเลียม (He)

1.

p, e, n

2.

2p, e, 2n

3.

p, 2e, n

4.

2p, 2e, 2n


6.

คาร์บอนเป็นธาตุที่เป็นส่วนสำคัญของสิ่งมีชีวิต สัญลักษณ์นิวเคลียร์ 126C แสดงว่านิวเคลียสของคาร์บอนนี้มีอนุภาคตามข้อใด (มาจากข้อสอบ O-NET ปี50)

1.

โปรตอน 12 ตัว นิวตรอน 6 ตัว

2.

โปรตอน 6 ตัว นิวตรอน 6 ตัว

3.

โปรตอน 6 ตัว อิเล็กตรอน 6 ตัว

4.

ถูกทั้งข้อ 2. และ 3.


7.

จำนวนอิเล็กตรอนของธาตุที่มีเลขอะตอมเป็น 17 คือ

1.

7

2.

17

3.

8

4.

18


8.

ข้อใดต่อไปนี้เป็นการกำจัดกากกัมมันตรังสีที่ดีที่สุด (มาจากข้อสอบ O-NET ปี50)

1.

เร่งให้เกิดการสลายตัวเร็วขึ้นโดยใช้ความดันสูงมากๆ

2.

เผาให้สลายตัวที่อุณหภูมิสูง

3.

ใช้ปฏิกิริยาเคมีเปลี่ยนให้เป็นสารประกอบอื่น

4.

ใช้คอนกรีตตรึงให้แน่นแล้วฝังกลบใต้ภูเขา


9.

ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับไอโซโทปของธาตุหนึ่งๆ

1.

มีเลขมวลเท่ากัน แต่เลขอะตอมต่างกัน

2.

มีจำนวนโปรตอนเท่ากัน แต่จำนวนนิวตรอนต่างกัน

3.

มีจำนวนนิวตรอนเท่ากัน แต่จำนวนโปรตอนต่างกัน

4.

มีผลรวมของจำนวนโปรตอนและนิวตรอนเท่ากัน


10.

นักโบราณคดีตรวจพบเรือโบราณลำหนึ่งมีอัตราส่วนของปริมาณ C-14 ต่อ C-12 เป็น 25% ของอัตราส่วนของสิ่งที่มีชีวิต สันนิษฐานได้ว่าซากเรือนี้มีอายุประมาณกี่ปี
กำหนดให้ ครึ่งชีวิตของ C-14 เป็น 5,730 ปี (มาจากข้อสอบ O-NET ปี 50)

1.

2,865 ปี

2.

5,730 ปี

3.

11,460 ปี

4.

22,920 ปี


11.

รังสีในข้อใดมีอำนาจในการทะลุทะลวงผ่านเนื้อสารได้น้อยที่สุด (มาจากข้อสอบ O-NET ปี 50)

1.

รังสีแอลฟา

2.

รังสีบีตา

3.

รังสีแกมมา

4.

รังสีเอกซ์


12.

ธาตุที่มีเลขอะตอมต่อไปนี้ มีสิ่งใดเหมือนกัน (มาจากข้อสอบ O-NET ปี 50)
1   3   11   19   37

1.

เป็นอโลหะเหมือนกัน

2.

มีจำนวนอนุภาคมูลฐานเท่ากัน

3.

อยู่ในระดับพลังงานเดียวกัน

4.

มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากัน


13.

ใช้ตารางตอบคำถามข้อ 13 - 17
ตาราง การจัดตัวของอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุบางชนิด

ชื่อธาตุ

สัญลักษณ์ธาตุ

เลขอะตอม

การจัดอิเล็กตรอนในอะตอมตามระดับพลังงาน

วาเลนซ์อิเล็กตรอน

แมกนีเซียม

Mg

12

ข้อ 13

ข้อ 14

ลิเทียม

ข้อ 15

3

2, 1

1

คลอรีน

Cl

17

ข้อ 16

7

อาร์เซนิก

As

ข้อ 17

2, 8, 18, 5

5

การจัดอิเล็กตรอนในอะตอมตามระดับพลังงานของธาตุแมกนีเซียม

1.

2, 7, 3

2.

2, 8, 2

3.

2, 5, 4, 1

4.

2, 8, 8


14.

วาเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุแมกนีเซียม

1.

3

2.

1

3.

8

4.

2


15.

สัญลักษณ์ของธาตุลิเทียม

1.

B

2.

Cl

3.

Li

4.

C


16.

การจัดอิเล็กตรอนในอะตอมตามระดับพลังงานของธาตุ Cl

1.

2, 8, 18

2.

2, 8, 7

3.

2, 8, 8

4.

2, 8, 6, 1


17.

เลขอะตอมของอาร์เซนิก คือ

1.

35

2.

34

3.

33

4.

32


เฉลยข้อสอบบทที่2

1.2 

2.4  

3.1

4.4

5.4

6.1

7.3

8.2

9.4

10.3

11.4

12.1

13.2

14.2

15.4

16.2

17.1

18.3

19.2

20.1

ที่มา : คลิกที่นี่

ข้อสอบบทที่2

บทที่ 2

ข้อใดผิด

1.

แก๊ส NO สามารถเกิดปฏิกิริยากับ O2 หรือ O3 ไปเป็นแก๊ส NO2

2.

แก๊ส NO2 รวมกับละอองน้ำในอากาศหรือน้ำฝนไปเป็นแก๊ส NO2

3.

การเผาไหม้น้ำมันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์หรือเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก๊ส NO

4.

แก๊ส NO2 รวมกับละอองน้ำในอากาศหรือน้ำฝนไปเป็นกรดไนตริก HNO3


2.

ข้อใดเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดสนิมเหล็ก

1.

แก๊สไนโตรเจน

2.

แก๊สออกซิเจน

3.

น้ำหรือความชื้น

4.

ข้อ 2 และข้อ 3 ถูก


3.

ข้อใดเป็นสนิมเหล็ก

1.

(Fe2O3.H2O)

2.

(Fe3O2.H2O)

3.

(S2O3.H2O)

4.

(SO2O3.H2O)


4.

อัตราการเกิดปฏิกิริยา คือ

1.

อัตราซึ่งสารตั้งต้น (reactant) ทำปฏิกิริยาไปต่อหน่วยเวลา (t)

2.

อัตราซึ่งสารผลิตภัณฑ์ (product) เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาต่อหน่วยเวลา (t)

3.

อัตราซึ่งสารตั้งต้น (reactant) เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาต่อหน่วยเวลา (t)

4.

ถูกทั้งข้อ 1 และ 2


5.

ปัจจัยที่ไม่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา

1.

อุณหภูมิ

2.

ธรรมชาติของสารตั้งต้น

3.

ความเข้มข้น

4.

ผิดทุกข้อ


6.

ปัจจัยในข้อใด ใช้ในการพิจารณาสารตั้งต้นที่เป็นของแข็ง

1.

พื้นที่ผิวสัมผัส

2.

อุณหภูมิ

3.

ตัวเร่งปฏิกิริยา

4.

ตัวหน่วงปฏิกิริยา


7.

ปัจจัยในข้อใด ทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น

1.

พื้นที่ผิวสัมผัส

2.

อุณหภูมิ

3.

ตัวเร่งปฏิกิริยา

4.

ตัวหน่วงปฏิกิริยา


8.

ปัจจัยในข้อใด เมื่อเพิ่มขึ้นจะทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น

1.

พื้นที่ผิวสัมผัส

2.

อุณหภูมิ

3.

ตัวเร่งปฏิกิริยา

4.

ตัวหน่วงปฏิกิริยา


9.

ปัจจัยในข้อใด ทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาช้าลง

1.

พื้นที่ผิวสัมผัส

2.

อุณหภูมิ

3.

ตัวเร่งปฏิกิริยา

4.

ตัวหน่วงปฏิกิริยา


10.

ถ้าเติมสาร ค ลงไปในสาร ก แล้วทำให้ได้สาร ข เร็วขึ้น คำกล่าวต่อไปนี้ข้อใดกล่าวถูกต้อง

1.

สาร ค เป็นสารที่ยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาของสาร ก

2.

สาร ค เป็นสารที่ยับยั้งการเกิดสาร ข

3.

สาร ค เป็นสารที่ใช้เร่งในการเกิดปฏิกิริยาของสาร ก

4.

สาร ค ไม่เกี่ยวข้องในการเกิดสาร ข


11.

ถ้าอุณหภูมิมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร ดังนั้นถ้าเรานำสาร a ไปอุ่นให้ร้อนขึ้น ผลควรเป็นอย่างไร

1.

สาร a เปลี่ยนไปเป็นสาร b ได้ช้าลง

2.

ไม่มีการเปลี่ยนแปลง

3.

สาร a เปลี่ยนไปเป็นสาร b ได้เร็วขึ้น

4.

สาร a อาจจะเปลี่ยนไปเป็นสาร b ได้เร็วขึ้น หรือ ช้าลง ขึ้นอยู่กับชนิดของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น


12.

หน่วยที่เล็กที่สุดของธาตุ ซึ่งยังสามารถแสดงสมบัติของธาตุนั้นๆ เรียกว่า

1.

อะตอม

2.

แบบจำลองอะตอม

3.

สารประกอบ

4.

โมเลกุล


13.

จงเรียงลำดับขนาดของสิ่งต่อไปนี้จากขนาดใหญ่สุดไปหาขนาดเล็กสุด

1.

ธาตุ สารประกอบ อะตอม โมเลกุล

2.

สารประกอบ ธาตุ โมเลกุล อะตอม

3.

โมเลกุล อะตอม สารประกอบ ธาตุ

4.

อะตอม โมเลกุล ธาตุ สารประกอบ


14.

น้ำ ประกอบด้วยธาตุ

1.

ไฮโดรเจน + คาร์บอน

2.

ไฮโดรเจน + ออกซิเจน

3.

คาร์บอน + ออกซิเจน

4.

ไฮโดรเจน + ไนโตรเจน


15.

ข้อใดเป็นอนุภาคมูลฐานของอะตอม

1.

โปรตอน

2.

นิวตรอน

3.

อิเล็กตรอน

4.

ถูกทุกข้อ


16.

สัญลักษณ์ที่ใช้แทนอนุภาคของอิเล็กตรอน

1.

n

2.

e

3.

p

4.

H


17.

ข้อใดกำหนดสัญลักษณ์ของอนุภาคต่อไปนี้ถูกต้อง
อิเล็กตรอน  โปรตอน  นิวตรอน

1.

e  p  n

2.

p  n  e

3.

n  e  p

4.

e  n  p


18.

นิวเคลียสของอะตอม ประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานอะไรบ้าง

1.

อิเล็กตรอน + โปรตอน

2.

โปรตอน + นิวตรอน + อิเล็กตรอน

3.

โปรตอน + นิวตรอน

4.

นิวตรอน + อิเล็กตรอน


19.

ข้อใดแสดงชนิดของประจุไฟฟ้าของอนุภาคไม่ถูกต้อง

1.

p (+1)

2.

n (-1)

3.

e (-1)

4.

n (0)


20.

ข้อใดถูก

1.

นิวตรอนมีชนิดของประจุเป็น 0

2.

โปรตอนมีชนิดของประจุเป็น -1

3.

อิเล็กตรอนมีชนิดของประจุเป็น +1

4.

นิวตรอนมีชนิดของประจุเป็น -1

เฉลยข้อสอบบทที่1

1.2 

2.4  

3.4

4.4

5.4

6.2

7.3

8.3

9.3

10.3

11.2

12.1

13.2

14.2

15.1

16.3

17.4

18.2

19.2

20.4

ที่มา : คลิกที่นี่

เฉลยข้อสอบบทที่ 3

1.4 2.3 3.3 4.1 5.4 6.4 7.2 8.4 9.2 10.3 11.1 12.4 13.2 14.4 15.3 16.2 17.3 ที่มา : คลิกที่นี่