วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2563

ข้อสอบบทที่2

บทที่ 2

ข้อใดผิด

1.

แก๊ส NO สามารถเกิดปฏิกิริยากับ O2 หรือ O3 ไปเป็นแก๊ส NO2

2.

แก๊ส NO2 รวมกับละอองน้ำในอากาศหรือน้ำฝนไปเป็นแก๊ส NO2

3.

การเผาไหม้น้ำมันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์หรือเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก๊ส NO

4.

แก๊ส NO2 รวมกับละอองน้ำในอากาศหรือน้ำฝนไปเป็นกรดไนตริก HNO3


2.

ข้อใดเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดสนิมเหล็ก

1.

แก๊สไนโตรเจน

2.

แก๊สออกซิเจน

3.

น้ำหรือความชื้น

4.

ข้อ 2 และข้อ 3 ถูก


3.

ข้อใดเป็นสนิมเหล็ก

1.

(Fe2O3.H2O)

2.

(Fe3O2.H2O)

3.

(S2O3.H2O)

4.

(SO2O3.H2O)


4.

อัตราการเกิดปฏิกิริยา คือ

1.

อัตราซึ่งสารตั้งต้น (reactant) ทำปฏิกิริยาไปต่อหน่วยเวลา (t)

2.

อัตราซึ่งสารผลิตภัณฑ์ (product) เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาต่อหน่วยเวลา (t)

3.

อัตราซึ่งสารตั้งต้น (reactant) เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาต่อหน่วยเวลา (t)

4.

ถูกทั้งข้อ 1 และ 2


5.

ปัจจัยที่ไม่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา

1.

อุณหภูมิ

2.

ธรรมชาติของสารตั้งต้น

3.

ความเข้มข้น

4.

ผิดทุกข้อ


6.

ปัจจัยในข้อใด ใช้ในการพิจารณาสารตั้งต้นที่เป็นของแข็ง

1.

พื้นที่ผิวสัมผัส

2.

อุณหภูมิ

3.

ตัวเร่งปฏิกิริยา

4.

ตัวหน่วงปฏิกิริยา


7.

ปัจจัยในข้อใด ทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น

1.

พื้นที่ผิวสัมผัส

2.

อุณหภูมิ

3.

ตัวเร่งปฏิกิริยา

4.

ตัวหน่วงปฏิกิริยา


8.

ปัจจัยในข้อใด เมื่อเพิ่มขึ้นจะทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น

1.

พื้นที่ผิวสัมผัส

2.

อุณหภูมิ

3.

ตัวเร่งปฏิกิริยา

4.

ตัวหน่วงปฏิกิริยา


9.

ปัจจัยในข้อใด ทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาช้าลง

1.

พื้นที่ผิวสัมผัส

2.

อุณหภูมิ

3.

ตัวเร่งปฏิกิริยา

4.

ตัวหน่วงปฏิกิริยา


10.

ถ้าเติมสาร ค ลงไปในสาร ก แล้วทำให้ได้สาร ข เร็วขึ้น คำกล่าวต่อไปนี้ข้อใดกล่าวถูกต้อง

1.

สาร ค เป็นสารที่ยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาของสาร ก

2.

สาร ค เป็นสารที่ยับยั้งการเกิดสาร ข

3.

สาร ค เป็นสารที่ใช้เร่งในการเกิดปฏิกิริยาของสาร ก

4.

สาร ค ไม่เกี่ยวข้องในการเกิดสาร ข


11.

ถ้าอุณหภูมิมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร ดังนั้นถ้าเรานำสาร a ไปอุ่นให้ร้อนขึ้น ผลควรเป็นอย่างไร

1.

สาร a เปลี่ยนไปเป็นสาร b ได้ช้าลง

2.

ไม่มีการเปลี่ยนแปลง

3.

สาร a เปลี่ยนไปเป็นสาร b ได้เร็วขึ้น

4.

สาร a อาจจะเปลี่ยนไปเป็นสาร b ได้เร็วขึ้น หรือ ช้าลง ขึ้นอยู่กับชนิดของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น


12.

หน่วยที่เล็กที่สุดของธาตุ ซึ่งยังสามารถแสดงสมบัติของธาตุนั้นๆ เรียกว่า

1.

อะตอม

2.

แบบจำลองอะตอม

3.

สารประกอบ

4.

โมเลกุล


13.

จงเรียงลำดับขนาดของสิ่งต่อไปนี้จากขนาดใหญ่สุดไปหาขนาดเล็กสุด

1.

ธาตุ สารประกอบ อะตอม โมเลกุล

2.

สารประกอบ ธาตุ โมเลกุล อะตอม

3.

โมเลกุล อะตอม สารประกอบ ธาตุ

4.

อะตอม โมเลกุล ธาตุ สารประกอบ


14.

น้ำ ประกอบด้วยธาตุ

1.

ไฮโดรเจน + คาร์บอน

2.

ไฮโดรเจน + ออกซิเจน

3.

คาร์บอน + ออกซิเจน

4.

ไฮโดรเจน + ไนโตรเจน


15.

ข้อใดเป็นอนุภาคมูลฐานของอะตอม

1.

โปรตอน

2.

นิวตรอน

3.

อิเล็กตรอน

4.

ถูกทุกข้อ


16.

สัญลักษณ์ที่ใช้แทนอนุภาคของอิเล็กตรอน

1.

n

2.

e

3.

p

4.

H


17.

ข้อใดกำหนดสัญลักษณ์ของอนุภาคต่อไปนี้ถูกต้อง
อิเล็กตรอน  โปรตอน  นิวตรอน

1.

e  p  n

2.

p  n  e

3.

n  e  p

4.

e  n  p


18.

นิวเคลียสของอะตอม ประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานอะไรบ้าง

1.

อิเล็กตรอน + โปรตอน

2.

โปรตอน + นิวตรอน + อิเล็กตรอน

3.

โปรตอน + นิวตรอน

4.

นิวตรอน + อิเล็กตรอน


19.

ข้อใดแสดงชนิดของประจุไฟฟ้าของอนุภาคไม่ถูกต้อง

1.

p (+1)

2.

n (-1)

3.

e (-1)

4.

n (0)


20.

ข้อใดถูก

1.

นิวตรอนมีชนิดของประจุเป็น 0

2.

โปรตอนมีชนิดของประจุเป็น -1

3.

อิเล็กตรอนมีชนิดของประจุเป็น +1

4.

นิวตรอนมีชนิดของประจุเป็น -1

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

เฉลยข้อสอบบทที่ 3

1.4 2.3 3.3 4.1 5.4 6.4 7.2 8.4 9.2 10.3 11.1 12.4 13.2 14.4 15.3 16.2 17.3 ที่มา : คลิกที่นี่